การจำลองทางสรีรวิทยาและวิศวกรรมทางการแพทย์
ศึกษาวิจัยรูปแบบจำลองของเซลล์ประสาท เซลล์และเนื้อเยื่อทั่วไป ตลอดจนการทำงานของระบบของร่างกาย ทั้งทางสถิตศาสตร์และพลศาสตร์ การประมวลสัญญาณประสาท การส่งผ่านวิศวกรรมทางการแพทย์ของเซลล์และเนื้อเยื่อ การต่อและการ สร้างหลอดเลือดใหม่ การไหลผ่านเข้า-ออกของอิออน การเปิดช่องอิออน การตรวจวัดสัญญาณไฟฟ้าของเซลล์เนื้อเยื่อและช่องอิออน ศึกษาวิจัยจลนศาสตร์การทำงานของหัวใจ คลื่นสัญญาณ ไฟฟ้าของหัวใจ การไหลของเลือด จลนศาสตร์ระบบหายใจ การกรอง ของไต การดูดซึมผ่านของสารที่ท่อไต ประยุกต์หลักการทาง ฟิสิกซ์และสรีรวิทยา อธิบายการขนส่งของยาและสารชีวภาพ ออกฤทธิ์ต่าง ๆ ศึกษาวิจัยทางสรีรวิทยาการออกกำลังกาย การทำงานของร่างกายและอุปกรณ์การกีฬา การประเมินผลลัพธ์ ประสิทธิภาพการออกกำลังกายและอุปกรณ์การกีฬา ประยุกต์ สรีรวิทยาการออกกำลัง และอุปกรณ์การกีฬา ในกลุ่มผู้ป่วยต่าง ๆ
วิทยานิพนธ์
ความสัมพันธ์ระหว่างระหว่างตัวบ่งชี้ชีวภาพทางประสาท-หลอดเลือดและความแปรปรวนของการเต้นของหัวใจระหว่างการรักษาด้วยวิธีลดอุณหภูมิกาย
การสูญเสียกลไกการควบคุมตัวเองของสมองและการสูญเสียของระบบประสาทอัตโนวัติตลอด จนการสูญเสียการทำงานของเซลล์ อินโดทีเลียมโดยการประเมินความไวในการตอบสนองของหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยหลอด เลือดสมองขนาดเล็กตีบ
การพัฒนาเครื่องวัดระบบประสาทพาราซิมพาเทติกในผู้ป่วยโรคภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ
การตรวจจับสัญญาณเอมโบลิกอย่างอัตโนมัติด้วยวิธีแปลงเวฟเล็ตแพ็คเก็ตแบบปรับค่าได้และวิธีนิวโรฟัซซีแบบปรับค่าได้
ปฏิสัมพันธ์ของหัวใจ-สมองผ่านความซับซ้อนของสัญญาณไฟฟ้าจากหัวใจห้องบนเต้นผิด จังหวะแบบสั่นพริ้วและการปรับแต่งระบบประสาทอัตโนวัติของหัวใจในผู้ป่วยภาวะ หัวใจบนห้องเต้นผิดจังหวะแบบสั่นพริ้วร่วมกับโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือด รวมทั้งในผู้ป่วยโรคบนห้องเต้นผิดจังหวะแบบสั่นพริ้วชนิดชั่วคราวและถาวร
1. นายอานนท์ จันทะนุกูล (สำเร็จการศึกษา)
รศ.ดร.เกสร สุวรรณประเสริฐ อาจารย์ที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์ : Relationship between neurovascular markers and heart rate variability through oxidative stress during therapeutic hypothermia
2. นายกรรณกร อินทรขำ (สำเร็จการศึกษา)
รศ.ดร.เกสร สุวรรณประเสริฐ อาจารย์ที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์ : การสูญเสียกลไกการควบคุมของสมองและการสูญเสียของระบบประสาทอัตโนวัติตลอดจนการสูญเสียการทำงานของเซลล์ อินโดทีเลียมโดยการประเมินความไวในการตอบสนองของหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยหลอดเลือดสมองขนาดเล็กตีบ An impairment of cerebral autoregulation and autonomic regulation as well as endothelial dysfunction determined by cerebrovascular reactivity in acute small artery stroke
1. นายรัฐพงศ์ สังข์หนุน (สำเร็จการศึกษา)
รศ.ดร.เกสร สุวรรณประเสริฐ อาจารย์ที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์ : ปฏิสัมพันธ์ของหัวใจ-สมองผ่านความซับซ้อนของสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะแบบสั่นพริ้วและการปรับแต่ง ระบบประสาทอัตโนมัติของหัวใจในผู้ป่วยภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะแบบสั่นพริ้วร่วมกับโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือด รวมทั้งในผู้ป่วยโรคหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะแบบสั่นพริ้วชนิดชั่วคราวและถาวร Heart-brain interaction through atrial fibrillatory signal complexity and cardiac autonomic modulation in atrial fibrillation with ischemic stroke as well as paroxysmal and persistent atrial fibrillation patients
2. นายยุทธนา พิมพ์ทองงาม (สำเร็จการศึกษา)
รศ.ดร.เกสร สุวรรณประเสริฐ อาจารย์ที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์ : ESTABLISHING A CLASSIFIER AND ESTIMATION SYSTEM OF NITRIC OXIDE AND HYDROGEN PEROXIDE IN LACUNAR STROKE BY SUPPORT VECTOR MACHINES
3. นายสิทธิพงษ์ แรงสูงเนิน (สำเร็จการศึกษา)
รศ.ดร.เกสร สุวรรณประเสริฐ อาจารย์ที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์ : การหาความแตกต่างของ QTc ทีผิดปกติในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดตีบเฉียบพลันระหว่างกลุ่มหัวใจเต้นสั่นพลิ้วและกลุ่มไม่เป็น โดยวิธีผสมผสานการวิเคราะห์สัญญาณและการวิเคราะห์ความแปรปรวนการเต้นของหัวใจที่ดีขึ้น Determination of abnormal QTc and Silent Atrial Fibrillation by hybrid signal processing methods and improvement of HRV analysis in acute stroke
4. พันจ่าเอกภูมเดชา ชาญเบญจพิภู (สำเร็จการศึกษา)
รศ.ดร.เกสร สุวรรณประเสริฐ อาจารย์ที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์ : การตอบสนองความดันโลหิตสูง ร่วมกับการสูญเสียการทำงานของระบบประสาทอัตโนวัติ และตัวบ่งชี้ชีวภาพทางระบบประสาทและหลอดเลือดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน HYPERTENSIVE RESPONSE AND ARRHYTHMIC EVENT RELATE TO AUTONOMIC MODULATION AND NEUROVASCULAR OXIDATIVE STRESS IN LARGE ARTERY ISCHEMIC STROKE
5. นายอมรชัย ไตรคุณากรวงศ์ (สำเร็จการศึกษา)
รศ.ดร.เกสร สุวรรณประเสริฐ อาจารย์ที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์ : ความสัมพันธ์ตัวบ่งชี้ภาวะเครียดเค้น sLOX-1, ไนตริกออกไซด์และ 8-ไฮดรอกซี่-2′-ดีออกซี่กัวโนซีน (8-OHdG) ร่วมกับ ความแปรปรวนของการเต้นของหัวใจ (HRV) และความผิดปกติในการทำงานของปอดในคนสูบบุหรี่เรื้อรัง
6. นายวราวุธ ช่วงชัย (สำเร็จการศึกษา)
ศ.นพ.ยงยุทธ ศิริปการ อาจารย์ที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์ : ผลการฝึกฝนความยืดหยุ่นการเรียนรู้ของสมองขั้นสูงเกี่ยวกับการล้มในผู้สูงอายุ EFFECT OF COGNITIVE PLASTICITY TRAINING ON FALLING IN AGING