ปัจจัยมนุษย์ในงานวิศวกรรมและการยศาสตร์
เหมาะกับผู้ปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมระดับสูง และผู้มีเป้าหมายในการทำงานสายวิชาการ เป็นการต่อยอดผู้ปฏิบัติงานที่ดูและงานด้านความปลอดภัย หรือ อาชีพที่เน้นความรู้เกี่ยวกับเทคนิควิศวกรรมในการศึกษาปัจจัยมนุษย์ การวิเคราะห์งาน การประเมินความเสี่ยงการทดสอบความสามารถในการใช้งานเพื่อเป็นข้อมูลในการออกแบบและปรับปรุงงานหรือผลิตภัณฑ์ สิ่งของ เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องจักร รวมถึงความรู้ทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ งานชีวอนามัย การดูและรักษาความปลอดภัยในและเพิ่มประสิทธิภาพในที่ทำงาน ปรับปรุงสภาพการทำงานให้มีความเหมาะสมกับผู้ทำงาน เช่น
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย
นักกายภาพบำบัด
พยาบาล
วิศวกร
สถาปนิก
นักออกแบบผลิตภัณฑ์
นักการยศาสตร์
1. นางสาวปาลิตา ดิษฐ์ศิริ (สำเร็จการศึกษา)
ผศ.ดร.พัชรี คุณค้ำชู อาจารย์ที่ปรึกษา
อ.ดร.สันทณี เครือขอน อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
วิทยานิพนธ์ : การเปรียบเทียบผลของการใช้ที่รัดน่องกับการออกกำลังกายกล้ามเนื้อน่องในงานที่ยืนเป็นเวลานาน Comparison effect of using compression stoking and calf muscle exercise in prolonged standing task
2. นายกฤษฎา ณรงค์กิจ (สำเร็จการศึกษา)
อ.ดร. ผกามาศ พิริยะประสาธน์ อาจารย์ที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์ : ผลกระทบจากการนั่งและการยืนทำงานต่อเนื่องกันเป็นเวลานานต่อ ความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อหลังส่วนล่างและกล้ามเนื้อต้นขาด้าน หลังในพนักงานหญิง The effect of prolonged standing and sitting work on hamstring and lower back muscle flexibility in female workers
3. นางสาวทิพย์สุดา บานแย้ม (สำเร็จการศึกษา)
รศ.ดร.เกษรา รักษ์พงษ์สิริ อาจารย์ที่ปรึกษา
รศ.ดร.สสิธร เทพตระการพร อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
วิทยานิพนธ์ : การพัฒนาเครื่องมือประเมินความล้าของตาในการใช้งานกับจอคอมพิวเตอร์ The development of visual fatigue evaluating instrument for VDT operators
4. นางสาวลัลลนา กนกชัยปราโมทย์ (สำเร็จการศึกษา)
ผศ.ดร.พัชรี คุณค้ำชู อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
อ.ดร.สิริลักษณ์ กาญจโนมัย อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
วิทยานิพนธ์ : ผลของน้ำหนักกระเป๋าสะพายหลังต่อตำแหน่งของคอและลำตัวและความรู้สึกเมื่อยล้าของผู้ปฏิบัติงานในสำนักงาน Effect of backpack loads on neck and trunk positions and fatigue in office workers
5. นางสาวขวัญแข สงัดวงศ์ (สำเร็จการศึกษา)
รศ.ดร.สสิธร เทพตระการพร, อาจารย์ที่ปรึกษา
รศ.ดร.กรอนงค์ ยืนยงชัยวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
วิทยานิพนธ์ : การศึกษาลักษณะอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมในการทำงาน เพื่อหาขีดจำกัดและคำแนะนำที่เหมาะสมสำหรับเด็ก THE STUDY OF WORKING THERMAL ENVIRONMENT TO DETERMINE LIMIT LEVEL AND SUITABLE RECOMMENDATIONS FOR CHILDREN
1. นายน้ำเงิน จันทรมณี (สำเร็จการศึกษา)
รศ.ดร.สสิธร เทพตระการพร, อาจารย์ที่ปรึกษา
อ.ดร.ผกามาศ พิริยะประสาธน์, อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
วิทยานิพนธ์ : การพัฒนาปรับปรุงเครื่องทอผ้าด้วยมือตามหลักการยศาสตร์เพื่อลดความเสี่ยงจากการทำงาน The improvement and development of ergonomics weaving hand-loom for reducing work risk
2. นายธีรพันธ์ แก้วดอก (สำเร็จการศึกษา)
อ.ดร.ผกามาศ พิริยะประสาธน์, อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
รศ.ดร.สสิธร เทพตระการพร, อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
วิทยานิพนธ์ : การวิเคราะห์ความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บจากการยกและเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัยในสถานการณ์น้ำท่วมด้วยวิธีจิตฟิสิกส์ Injury risk analysis of manual resident lifting and transferring in flooding situation using psychophysical approach
3. นางสาววาสนา ฬาวิน (สำเร็จการศึกษา)
รศ.ดร.สสิธร เทพตระการพร อาจารย์ที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์ : ตาล้าและความเข้มของแสงสว่างสำหรับผู้ใช้สมาร์ทโฟนในเด็กวัยรุ่นตอนต้น Eye strain and lighting levels for early adolescence smartphone users
4. นางสาวชัญญา เจียมใจ (สำเร็จการศึกษา)
ผศ.ดร.พัชรี คุณค้ำชู อาจารย์ที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์ : แรงกดบนหมอนรองกระดูกสันหลังเอวที่ระดับ 4 และ 5 และการทำงาน ของกล้ามเนื้อลำตัวขณะยกและเคลื่อนย้ายคนด้วยแรงกาย L4/L5 COMPRESSION FORCE AND TRUNK MUSCLES ACTIVITY DURING DIFFERENT MANUAL HUMAN HANDLING TECHNIQUES
5. นางสาวเยาวลักษณ์ เจริญรุ่งทรัพย์ (สำเร็จการศึกษา)
ผศ.ดร.สิริลักษณ์ กาญจโนมัย อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
รศ.ดร.สันทณี เครือขอน อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
วิทยานิพนธ์ : ผลของการออกกำลังกายปรับท่าทางที่ถูกต้องด้วยตนเองต่อท่าศีรษะ ยื่นไปข้างหน้าและสมรรถภาพของกล้ามเนื้อลำตัวส่วนบนในผู้ใช้สมาร์ทโฟน
6. นายชนนท์ กองกมล (สำเร็จการศึกษา)
รศ.ดร.พัชรี คุณค้ำชู อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
รศ.ดร.องุ่น สังขพงศ์ อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
วิทยานิพนธ์ : รูปแบบการเคลื่อนย้ายด้วยหลักการยศาสตร์สำหรับผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
7. นางสาวไพลิน เผือกประคอง (สำเร็จการศึกษา)
รศ.ดร.พัชรี คุณค้ำชู อาจารย์ที่ปรึกษา
ผศ.ดร.ปรเมศร์ เอิร์ด อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
วิทยานิพนธ์ : การเปลี่ยนแปลงมุม lumbo-pelvic-hip และแรงดันที่กระทำต่อก้นในพนักงานที่มีกล้ามเนื้อรยางค์ส่วนล่างไม่สมดุลแบบ lower-crossed syndrome ขณะนั่งทำงานในท่าทางที่แตกต่างกัน
8. นายอภิรักษ์ วงษ์เหมภูมิ (สำเร็จการศึกษา)
รศ.ดร.พัชรี คุณค้ำชู อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
ผศ.ดร.ผกามาศ พิริยะประสาธน์ อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
วิทยานิพนธ์ : การตอบสนองทางสรีรวิทยาและจิตใจที่เกี่ยวข้องกับการทำงานบนที่สูงในกลุ่มเด็ก
9. นายอาริสร์ กาญจนศิลานนท์ (สำเร็จการศึกษา)
รศ.ดร.พัชรี คุณค้ำชู อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
อ.ดร.ปรเมศร์ เอิร์ด อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
วิทยานิพนธ์ : ผลของการปรับการจับล้อต่อการทำงานของกล้ามเนื้อและสมรรถนะทางการกีฬาในนักกีฬาวีลแชร์บาสเกตบอล
10. นางสาวพรทิพย์ ทาบทอง (สำเร็จการศึกษา)
รศ.ดร.เสมอจิตร หอมรสสุคนธ์ อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
ผศ.ดร.ผกามาศ พิริยะประสาธน์ อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
วิทยานิพนธ์ : ความสูงของที่นั่งชักโครกที่เหมาะสมตามหลักการยศาสตร์สำหรับผู้สูงอายุ
11. นางสาวอมตา อุตมะ (สำเร็จการศึกษา)
อ.ดร.ปรเมศร์ เอิร์ด อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
รศ.ดร.พัชรี คุณค้ำชู, อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
วิทยานิพนธ์ : ขีดจำกัดสูงสุดของการยกที่ยอมรับได้สำหรับเด็กทำงานในประเทศไทย
12. นางสาวชนัณญา โล่ห์รักษา (สำเร็จการศึกษา)
รศ.ดร.สิริมา มงคลสัมฤทธิ์ อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
ผศ.ดร.นิติการ นิ่มสุข อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
วิทยานิพนธ์ : การวิเคราะห์มะเร็งกระดูกที่ลุกลามไปที่ปอดด้วยเทคนิคการเรียนรู้เชิงลึกโครงข่ายประสาทเทียมแบบคอนโวลูชันนอลนิวรอลเน็ตเวิร์กและการประมวลผลภาพ