|
ป.โท แผน ก แบบ ก1 |
ป.โท แผน ก แบบ ก 2 |
ป.โท แผน ข |
หมายเหตุ |
โครงสร้างหลักสูตร |
เสริมพื้นฐาน 6 หน่วยกิต, วิทยานิพนธ์
36 หน่วยกิต |
เสริมพื้นฐาน 6 หน่วยกิต, บังคับ |
เสริมพื้นฐาน 6 หน่วย, วิชาบังคับ 6 หน่วย, วิชาเลือก 15 หน่วย, ค้นคว้าอิสระ 6 หน่วย |
|
ภาคฤดูร้อน |
วิศวกรรมทางการแพทย์เบื้องต้น, คณิตศาสตร์วิศวกรรมศาสตร์,
กายวิภาคศาสตร์, สรีรวิทยา |
วิศวกรรมทางการแพทย์เบื้องต้น, คณิตศาสตร์วิศวกรรมศาสตร์, |
วิศวกรรมทางการแพทย์เบื้องต้น, คณิตศาสตร์วิศวกรรมศาสตร์, |
|
ปี 1 เทอม 1 |
วิทยานิพนธ์ 9 หน่วย |
3 วิชาบังคับ 6 หน่วย |
วิชาบังคับ 6 หน่วย, |
รายวิชาบังคับต้องได้ค่าระดับไม่ต่ำกว่า C ถ้าได้ค่าระดับต่ำกว่าC
สามารถลงเรียนซ้ำได้ 1 ครั้ง ถ้าไม่ผ่านอีกจะถูกถอนชื่อจากการเป็นนักศึกษา |
ปี 1 เทอม 2 |
วิทยานิพนธ์ 9 หน่วย |
3 วิชา เลือก 9 หน่วย |
วิชาเลือก 9 หน่วย |
|
ปี 2 เทอม 1 |
วิทยานิพนธ์ 9 หน่วย |
2 วิชาเลือก 6 หน่วย วิทยานิพนธ์ 6 หน่วย |
วิชาเลือก 6 หน่วย,ค้นคว้าอิสระ 3 หน่วย |
นักศึกษาจะจดทะเบียนรายวิชาวิทยานิพนธ์ได้ก็ต่อเมื่อ |
ปี 2 เทอม 2 |
วิทยานิพนธ์ 9 หน่วย |
วิทยานิพนธ์ 12 หน่วย |
วิชาเลือก 3 หน่วย,ค้นคว้าอิสระ 3 หน่วย |
|
|
|
|
|
การลงทะเบียน |
การทำวิทยานิพนธ์
1. นักศึกษาจะจดทะเบียนวิทยานิพนธ์ได้เมื่อศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่า
2 ภาคการศึกษา หรือจะต้องมี
หน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และมีค่าระดับเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า
3.00 และ รายวิชาบังคับ
และรายวิชาเลือกที่จดทะเบียนมาแล้ว จะต้องสอบได้ไม่ต่ำกว่าค่าระดับ
C
2. นักศึกษาต้องทำวิทยานิพนธ์เป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ
3.
นักศึกษาจะต้องรายงานความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ทุกภาคการศึกษาที่มีการลงทะเบียน
โดยมีอาจารย์ที่
ปรึกษาวิทยานิพนธ์เป็นผู้ทำหน้าที่ในการประเมินความก้าวหน้า หรือ
แต่งตั้งกรรมการร่วมประเมินกับ
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ได้
ทั้งนี้ให้เป็นไปตามข้อบังคับของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วย
การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561
4.
ให้คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์แต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
ซึ่งจะให้คำแนะนำรวมทั้งสอบ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์และสอบวิทยานิพนธ์
5. หลังจากจดทะเบียนวิทยานิพนธ์แล้ว
เมื่อนักศึกษาจัดทำเค้าโครงวิทยานิพนธ์เสร็จ ให้คณบดีแต่งตั้ง
กรรมการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ซึ่งเป็นกรรมการชุดเดียวกับกรรมการสอบวิทยานิพนธ์
รวมไม่น้อยกว่า
3 ท่าน ซึ่งประกอบไปด้วย อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ อาจารย์ประจำหลักสูตร
และผู้ทรงคุณวุฒิ
จากภายนอกมหาวิทยาลัย
โดยประธานกรรมการสอบต้องไม่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักหรือ
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
และกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ต้องเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ระดับบัณฑิตศึกษา
พ.ศ. 2558 และตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561
6. อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก และ/หรือ
อาจารย์ที่
ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ทั้งนี้ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.
2558 ของ
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
การสอบวิทยานิพนธ์
1) คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ .ศ . 2558
ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและขัอบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ว่าด้วยการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561
2) นักศึกษาจะสอบวิทยานิพนธ์ได้เมื่อสอบภาษาต่างประเทศผ่านแล้ว
3) การสอบวิทยานิพนธ์ให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
และเกณฑ์มาตรฐาน
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 และการสอบวิทยานิพนธ์ที่จะได้ผล ระดับ S ต้องได้มติเอกฉันท์
จากคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์
4) การสอบวิทยานิพนธ์
เป็นการสอบปากเปล่าและต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
1. ได้ศึกษาลักษณะวิชาต่างๆ และสอบผ่านครบตามโครงสร้างหลักสูตร โดยมีหน่วยกิตสะสมไม่น้อย
กว่า 39 หน่วยกิต
2. ได้ค่าเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.00
3. ได้ค่าระดับ P
(ผ่าน) ในรายวิชาเสริมพื้นฐาน (สำหรับผู้ที่ยังไม่มีพื้นฐาน)
4. ได้ค่าระดับ P
ในการสอบภาษาต่างประเทศตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
7. ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขอื่นๆ ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กำหนด
เกณฑ์ภาษาต่างประเทศระดับปริญญาโท
(1) ศึกษาและสอบจนได้ค่าระดับ P (ผ่าน) ในรายวิชา มธ.005 ภาษาอังกฤษ 1 และ มธ.006 ภาษาอังกฤษ 2
(2) มีคะแนนหรือระดับการทดสอบความรู้ด้านภาษาอังกฤษอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้
2.1 TOEFL (Paper-based) หรือ
TOEFL-ITP (Institutional Testing Program) หรือ TU-GET
550 คะแนนขึ้นไป
2.2 TOEFL (Computer-based) 213
คะแนนขึ้นไป
2.3 TOEFL (Internet-based) 79
คะแนนขึ้นไป
2.4 IELTS ระดับ 6.5 ขึ้นไป